ห้องเรียนรู้ไฟฟ้าสถิต (ESD Coordinator)

วัดความรู้สำหรับ ESD Coordinator (แบบทดสอบจะวัดความรู้ในเนื้อหามาตรฐาน ทั้งหมด การควบคุม ค่าที่ควบคุม ตลอดจนมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง สำหรับทำ Product Qualification จากผู้จำหน่ายสินค้าที่ป้องกันไฟฟ้าสถิย และ TR-53, S6.1 และอื่นๆ)

วัดความรู้สำหรับ ESD Coordinator

 

บทที่ 1: Damage by “ELECTROSTATIC DISCHARGES” โดยมีการกำหนดควบคุมค่า Volts ไฟฟ้าสถิต ดังนี้

  1. HBM (Human Body Model) <100volts
  2. CDM (Charge Device Model) <200volts
  3. Isolated Conductor <35volts
  4. Control for insulator 125v and 2,000v

Note. Lowest level(s) of device ESD sensitive that can be handled

บทที่ 2: Product Qualification (คือ ย่อในที่นี้ PQ) เป็นการตรวจสอบสินค้าที่คุณภาพดี และ ดีแล้วต้องวัดค่าผ่านจริงหรือเปล่า จะทำให้ผู้ซื้อได้สินค้าที่มี “คุณภาพดีจริงๆ”

PQ ในข้อนี้สำคัญมากๆ ผมจะเปรียบเทียบและเน้นย้ำทุกครั้งที่อบรม การขอเอกสาร PQ จะดีกว่าเอกสาร Datasheet เพราะในมาตรฐาน คือการทดสอบคุณสมษัติตามข้อกำหนด

ทั้งค่า (spec) วิธีการ (Test Method) รวมถึง (Enviroment Control) ขณะทดสอบต้องมีความชื้น (RH%) และ (Temp/Co) อุณหภูมิ ตลอดจนก่อนจะทดสอบต้องรอ กี่ ช.ม และ ไม่เกินกี่ ช.ม (Timing) ถึงจะทำการทดสอบได้

หมายเหตุ: คุณอาจจะยังไม่ทราบ สินค้าบางรายการจะมีการผสม raw mat’l ที่ด้อยคุณภาพเข้าไปด้วย หรือ อาจจะ Coating น้ำยา หรือ ชุปน้ำยาที่ทำให้ค่าบนพื้นผิว ให้อยู่ในมาตรฐานได้ คุณเอง หากต้องการสินค้าที่ดี ควรร้องขอ Product Qualification Report ที่ถูกต้อง ทุกครั้งที่ต้องการซื้อสินค้าใหม่ๆๆ

แผนกจัดซื้อต้องขอเอกสารตามข้อกำหนดอะไร ดูอ้างอิงด้านล่างนี้

  1. ANSI/ESD STM 2.1 หากต้องการจะซื้อชุดป้องการไฟฟ้าสถิต
  2. ANSI/ESD 4.1 หากต้องการจะสั่งซื้อแผ่น ESD MAT สีเขียวมาปูที่โต๊ะ รวมถึงเอกสารประกอบการทดสอบสิ่งแวดล้อมที่กำหนดต่างๆแนบ
  3. ANSI/ESD STM 3.1 หากต้องการสั่งซื้อ Ionizer ทุกชนิด
  4. ANSI/ESD STM 11.11 and STM 11.12 and STM 11.13 หากต้องการซื้อ กล่อง (box), ถาด (Tray) หรือ ถุง , แผ่นกันกระแทก และโฟมสีชมพู เป็นต้น
  5. ANSI/ESD S13.1 หากต้องการจะสั่งซื้อ หัวแร้งหรือเครื่องเป่าลมร้อน
  6. รายการอื่นๆ อีก เช่น Flooring, Footwear, Wrist Strap, Seating, Bage, Symbols, Wrist Strap Monitoring สอบถามได้ที่เมล์ด้านล่าง

บทที่ 3: Grounding/Equipotential Bonding การต่อกราวด์จะมีข้อกำหนดมากมาย และอ้างอิงใน s6.1 สำคัญที่สุดคือ โรงงานจะต้องรู้ก่อนว่าระบบกราวด์ที่ใช้งานอยู่นั้น ระบบกราวด์ไฟฟ้า (AC) ต่อ รวมกัน หรือ แยกออกจากกัน กับกราวด์ ESD ผมขอให้รายละเอียดคร่าวๆ เป็นสเปก แต่รายละเอียดเจาะลึกจะมีสอนในห้อง อบรม ครบถ้วน

  1. AC Ground – ค่า Impedance < 1.0 ohm
  2. Auxiliary Ground – ค่าน้อยกว่า <25 ohms โดยการวัดเปรียบเทียบระบบกราวด์ทั้งสองระบบ

Remark: Ground fault circuit interrupters (5.0 – personal safety) ผมแนะนำให้ทำความรู้จักอุปกรณ์ด้วย เพราะตามท้องตลาดนั้น หากดูจริงๆจะมีขาย 2 ชนิด สำหรับ AC outlet

  • GFCI
  • AFCI

บทที่ 4: ESD Training การฝึกอบรมสำคัญมากๆ เพราะข้อกำหนดชัดเจนคือ intial and recurrent training หมายถึง พนักงานใหม่ต้องได้รับการฝึกอบรม และ พนักงานที่กำลังปฏิบัติงานอยู่นั้นต้องได้รับการอบรมซ้ำ ดังนั้นทุกๆปี ต้องได้รับการฝึกอบรมตลอด (Training Plan) ผมขอจำแนกใครบ้างที่จะต้องอบรม โดยแยกออก 4 บทเรียน เพื่อให้เหมาะสมต่อผู้เข้าร่วมอบรม และ ใช้เวลาเรียนรู้ไม่เท่ากัน ตาม scope ที่ปฏิบัติเมื่อเข้าในพื้นที่ EPA และ การควบคุมที่แตกต่างหน้าที่กัน

  1. ESD Awearness : Production พนักงานใน line ผลิต
  2. ESD Control: Engineering/QA/FAC/Training Center และ ผู้เกี่ยวข้องทั้งหมด
  3. Technical Report: Tecnician Supporting
  4. ESD Follow: Service Repaire/Visitor and Customer

บทที่ 5: Personal Grounding (8.2)

พนักงานทุกคนจะต้องเชื่อมต่อเข้ากับระบบกราวด์ เพื่อศักย์ไฟฟ้าเท่ากัน ขณะที่ปฏิบัติงานสำหรับ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ไวต่อไฟฟ้าสถิต (อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่เปราะบางต่อไฟฟ้าสถิต) โดยวิธีการเชื่อมต่อระบบกราวด์สำหรับคน สามารถเลือกจากตารางที่ 2

  1. Wrist Strap สายรัดข้อมือ
  2. Groundable static control Garment สวมใส่ชุดที่มีจุดต่อสายกราวด์ แต่มีเงื่อนไขที่ปลายแขนเสื้อหนึ่งข้างต้องมีคุณสมบัติตามเงื่อนไขด้วยนะ
  3. Footwear/Flooring System รองเท้าชนิด ESD / พื้น แต่ข้อนี้ต้องผ่านการทดสอบ Peak Volt < 100v (walking test). หมายเหตุ: ข้อนี้สำคัญที่เชื่อมโยงไปที่ข้อกำหนด HBM <100v

บทที่ 6: การวัดที่ถูกต้อง Complaince Verification (TR-53) เรียนรู้ในห้องเรียน

บทที่ 7: การวัดที่ถูกต้อง Product Qualification สำหรับมาตรฐาน เหล่านี้ทั้งหมด ANSI/ESD STM 2.1 and STM 11.11 and STM 11.12 and STM 11.13, STM 9.1 and STM 97.1 and S13.1 and TR1.0 เป็นต้น เรียนรู้ในห้องเรียน

บทที่ 8: การติดตั้ง Ionizer ที่ถูกต้อง และ การวัด Discharge time and offset เรียนรู้ในห้องเรียน

บทที่ 9: การวัดค่าไฟฟ้าสถิตสำหรับ Insulator 125v และ 2,000v และ จะแก้ไขอย่างไร หากจำเป็นต้องใช้ฉนวนนั้น เรียนรู้ในห้องเรียน

บทที่ 10: เทคนิคการ Bonding Ground และ การต่อโซ่ และ ตรวจสอบล้อ ESD เรียนรู้ในห้องเรียน

บทที่ 11: แนะนำการเลือกเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพมาใช้งาน ที่ต้องทราบ ก่อนคุยกับ Vender ถ้าไม่อยากเจอซื้อเครื่องมือที่ไม่มีคุณภาพมาใช้งาน เรียนรู้ในห้องเรียน

บทที่ 12: แนะนำการซักชุดป้องกันไฟฟ้าที่ถูกต้อง และ เส้นใยสีดำสำคัญอย่างไร มีทำหน้าที่สำคัญอะไร ทำไมต้องมีเส้นสีดำนี้ที่ตัวชุด เรียนรู้ในห้องเรียน

บทที่ 13: ตำราเรียนที่มีเนื้อหาเน้นๆ มากกว่า 200 หน้า มอบให้ฟรี เมื่อติดต่ออบรม

บทที่ 14: ESD Survey ให้ทุกบริษัทฟรี เมื่อติดต่ออบรม

บทที่ 15: แนะนำที่ใหนบ้างที่พร้อม ออกใบ ANSI/ESD s20.20 certificate ให้โรงงานที่ขอใบรับรอง ในประเทศไทยที่ได้มาตรฐานมีที่เดียวคือ เรียนรู้ในห้องเรียน

(nam myoho renge kyo)

You cannot copy content of this page